-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
325
พฤษภาคม 2549
สารพิษโบทูลิน : มหันตภัยที่ซ่อนในหน่อไม้ปี๊บท่ามกลางข่าวความยุ่งเหยิงและสับสนทางการเมืองที่กรุงเทพมหานครในช่วงกลางเดือนมีนาคม พ.ศ.๒๕๔๙ ที่ผ่านมา มีข่าวที่สร้างความตื่นเต้นไม่แพ้กันที่อำเภอ บ้านหลวง จังหวัดน่าน ซึ่งมีผู้ป่วยอาการหนักจากการกินหน่อไม้ปี๊บมากกว่า ๒๐๐ รายอาการป่วยดังกล่าวมีสาเหตุเนื่องมาจากการได้รับสารพิษที่เรียกว่าโบทูลิน (botulin) ความเสียหายต่อเนื่องที่เกิดขึ้นนั้นมีมูลค่ามหาศาล ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
316
สิงหาคม 2548
เครื่องปรุงรสสำหรับอาหารไทยในปัจจุบัน พบว่าประชากรจำนวนมากมีปัญหาเกี่ยวกับโรคเรื้อรังไม่ติดต่อที่เกิดจากการเพิ่มของอายุ (Non-communicable chronic degenerative diseases) ได้แก่ โรคความดันเลือดสูง เบาหวาน และหัวใจขาดเลือด เป็นต้น วิธีการที่ยั่งยืนและมีผลข้างเคียงต่ำที่นิยมใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาของโรคเหล่านี้ ได้แก่ โภชนบำบัด ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
297
มกราคม 2547
ประโยชน์การดื่มนมสำหรับผู้สูงอายุผู้ถาม : ชำนาญ/กรุงเทพฯผมอายุ ๘๓ ปี อยากทราบว่า๑.นมเปรี้ยว โยเกิร์ต ยาคูลท์ มีประโยชน์มากน้อยแค่ไหน (ผู้สูงอายุตั้งแต่ ๖๐ ปีขึ้นไป กินได้หรือไม่)๒.นมผง นมผงขาดมันเนยหรือนมพร่องไขมันคือนมอะไร แตกต่างกันอย่างไร๓.หางนมผงคืออะไร มีประโยชน์มากน้อยแค่ไหน๔.ข้อแตกต่างและประโยชน์ของเนยอ่อน เนยเทียม เนยแข็ง ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
241
พฤษภาคม 2542
สารรสส้มในบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปผู้ถามศิริชัย/ชุมพรสารรสส้มที่อยู่ในบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปนั้นทำจากอะไร และถ้าเรากินบ่อยๆจะมีอันตรายต่อร่างกายหรือไม่ผมมีปัญหาจะขอเรียนถามคุณหมอดังนี้ครับ คือ ที่บ้านของผมจะชอบกินบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปรสต้มยำมาก จึงอยากทราบว่าสารรสส้มที่อยู่ในบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปนั้นทำจากอะไร และถ้าเรากินบ่อยๆจะมีอันตรายอะไรต่อร่างกายหรือไม่ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
187
พฤศจิกายน 2537
น้ำดื่มและเกลือแร่ความทรงจำที่เคยช่วยผู้ใหญ่ที่บ้านรองน้ำฝนไว้ใช้บริโภคยังไม่จางหายไปสักเท่าไหร่ แต่ปัจจุบันพบว่าน้ำฝนจากฟากฟ้ากรุงเทพมหานคร เขตปริมณฑล และบางพื้นที่ไม่เหมาะสมที่จะใช้ดื่มเสียแล้ว เพราะปนเปื้อนฝุ่นละออง และสารพิษ ที่มองไม่เห็นในอากาศอีกด้วย โดยเฉพาะหมอกควันที่มาจากอุตสาหกรรมและจากการจราจรจากสถานการณ์ดังกล่าวทำให้คนหันมานิยมบริโภคผลิตภัณฑ์ประเภทน้ำดื่มบรรจุขวดกันมากขึ้น ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
186
ตุลาคม 2537
ซีอิ๊วและเต้าเจี้ยวเมื่อเดือนที่แล้วมีโอกาสไปชมนิทรรศการวิชาการเทคโนอินโดจีน ซึ่งแสดงเกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย เพื่อให้ประเทศเพื่อนบ้านของเราได้เห็นกัน ที่งานนี้เองได้พบกับผู้เชี่ยวชาญด้านซีอิ๊วท่านหนึ่ง มาแสดงเกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ในการผลิตซีอิ๊วและเต้าเจี้ยว ซึ่งทำให้กำลังการผลิตเพิ่มขึ้นอย่างมากมายท่านเล่าให้ฟังว่า ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
185
กันยายน 2537
โจ๊กและข้าวต้มกึ่งสำเร็จรูปคนกรุงเทพฯวันนี้ที่กำลังรอคอยรถไฟฟ้าหรือรถใต้ดินอยู่นั้น ก็คงต้องดิ้นรนหาเวลาให้เพียงพอบนท้องถนน ส่วนเวลาที่เหลืออยู่ที่ใช้หุงหาอาหารให้กับตนเองและครอบครัวก็เลยต้องลดหายไปเรื่อยๆอาหารประเภทกึ่งสำเร็จรูปจึงได้เริ่มเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของคนกรุงเทพฯ ยุค “วันนี้ที่รอคอย” มากขึ้นทุกที โจ๊กและข้าวต้มกึ่งสำเร็จรูปก็เลยพลอยติดความนิยมไปกับเขาด้วย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
184
สิงหาคม 2537
น้ำปลาและน้ำเกลือปรุงรสถ้าจะกล่าวว่าน้ำปลาเป็นเครื่องปรุงรสที่ขาดไม่ได้ในครัวไทยก็คงไม่ผิดนัก เพราะคนไทยส่วนใหญ่โดยเฉพาะในภาคกลางได้นิยมใช้เครื่องปรุงรสชนิดนี้มานานแล้วอย่างไรก็ตาม เราคงจะอ้างว่าน้ำปลาเป็นเครื่องปรุงรสประชำชาติไทยไม่ได้สนิทปากนัก เพราะหลายประเทศในภูมิภาคนี้ เช่น เวียดนาม ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย กัมพูชา ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
182
มิถุนายน 2537
น้ำส้มสายชูน้ำส้มสายชู เป็นผลิตภัณฑ์ที่อยู่คู่โลกและเป็นที่นิยมบริโภคกันมาแต่โบราณกาล ฝรั่งเรียกน้ำส้มสายชูว่า Vinegar ซึ่งมาจากภาษาฝรั่งเศสว่า “Vinaigre” อันมีความหมายว่าเหล้าไวน์ที่มีรสเปรี้ยวนั่นเองน้ำส้มสายชูเป็นเครื่องปรุงรสสำหรับอาหารในบ้านเราหลายชนิด โดยเฉพาะอาหารที่มีต้นกำเนิดมาจากประเทศจีน เช่น ก๋วยเตี๋ยว ข้าวขาหมู น้ำจิ้มหลายชนิด ฯลฯ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
181
พฤษภาคม 2537
น้ำตาลและสารทดแทนความหวาน“อันอ้อยตาลหวานลิ้นแล้วสิ้นซาก แต่ลมปากหวานหูไม่รู้หาย”เป็นบทกวีของท่านสุนทรภู่ ซึ่งเป็นที่รู้จักของชาวไทยเป็นอย่างดี แต่ถึงกระนั้น ความหวานจากอ้อยตาลในอาหารก็ยังเป็นสิ่งที่พึงปรารถนาของเราเสมอมานอกจากนี้ประเทศไทยก็ยังเป็นผู้ผลิตน้ำตาลรายใหญ่ในตลาดโลกรายหนึ่งอีกด้วยในระยะหลังนี้คนไทยได้มีการตื่นตัวตามนักวิชาการในประเทศที่พัฒนาแล้ว ...