-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
5
กันยายน 2522
พ่อแม่ช่วยลูกในการเรียนได้อย่างไร “คุณหมอครับ ทำอย่างไรดี ผมยังไม่อยากโต”“อาจารย์หมอค่ะ หนูรู้สึกอยากเป็นผู้ใหญ่เร็งๆ จัง แต่บางที่ก็อยากเป็นเด็กอยู่อย่างนี้แหละค่ะ สบายดี ตกลงไม่ททราบจะเป็นอะไรดี”“ทำไม ผู้ใหญ่ไม่ย่อมให้เด็กแสดงความคิดเห็นบ้างคะ ทั้งที่บ้านและที่โรงเรียนเลย”“คุณหมอครับ ทำไมผมต้องเสียงแตกด้วย ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
4
สิงหาคม 2522
9.การให้นมลูกด้วย “วิธีสลับ” (นมแม่สลับนมวัว) ถึงแม้ว่าคุณอยากจะเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ แต่ถ้านมแม่ไม่พอจริงๆ ก็จำเป็นต้องเพิ่มด้วยนมวัว ในกรณีนี้ คุณไม่ควรใช้วิธีให้ลูกดูดนมแม่ทุกครั้งแล้วตามด้วยนมวัว ควรใช้วิธีสลับ คือ เวลาให้นมวัว ก็ให้นมวัวล้วนๆ เวลาที่ให้นมแม่ ก็ให้แต่นมแม่ เพราะถึงตอนที่ต้องให้นมแม่ คุณแม่เองจะพยายามให้ลูกดื่มเต็มที่ เพราะกลัวว่าจะไม่พอ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
4
สิงหาคม 2522
“นมไหนใครว่าแน่ นมแม่ซิแน่กว่าใคร”สมัยนี้ วิวัฒนาการทางด้านอาหารของเด็กได้พัฒนาการก้าวหน้าไปไกลโดยเฉพาะในวงการ นมกระป๋อง หรือนมสัตว์ซึ่งได้รับความนิยมจากบรรดาคุณแม่ทั้งหลายในอันที่จะนำมาเลี้ยงลูกของตนเองและประกอบกับผู้หญิงเราจะต้องออกไปทำงานนอกบ้านเพื่อหารายได้มาช่วยค่ำจุนครอบครัวของตน เพราะจะรอให้ฝ่ายชายหาเลี้ยงเพียงคนเดียวก็ไม่พอกินแน่ ดังนั้นในการที่แม่จะให้นมของตนเองแก่ลูก ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
3
กรกฎาคม 2522
นมแม่ช่วยเด็กขาดอาหารก็เพราะความยากจน ความไม่เข้าใจ ความไม่รู้ ขนบธรรมเนียมประเพณี บางอย่างของท้องถิ่น เป็นสาเหตุทำให้เกิดการขาดอาหารในเด็กเล็กวัยก่อนเรียนมากขึ้นจนเป็นปัญหาทุโภชนาการในประเทศทุกวันนี้ ปัจจุบันนี้ เด็กวัยก่อนเรียนมีทั้งสิ้นประมาณ 7 ล้านคน ขาดอาหารเสียประมาณ 5 ล้านคนศาสตราจารย์ นพ. อารี วัลยะเสวี ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยโภชนาการ ได้ให้สัมภาษณ์ในเรื่องดังกล่าว ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
3
กรกฎาคม 2522
เด็กชักเวลาตัวร้อนชักจนลูกปัญญาอ่อนและแม่ประสาทอ่อนหนูเก่ง อายุได้ 10 ปีแล้วรูปร่างใหญ่โตน่ารัก แต่ยังเรียนอยู่ชั้น ป.1 เพราะยังสอบไม่ผ่านมา 4 ปีแล้ว ครูลงความเห็นว่าหนูเก่งปัญญาไม่ดี ส่วนหมอลงความเห็นว่า หนูเก่งเป็นเด็กปัญญาอ่อน เนื่องจากเด็กแกมีอาการชักบ่อยแม่ของหนูเก่งจำได้ว่า ลูกชักครั้งแรกเมื่อมีอายุได้ขวบเศษๆ ตอนนั้นเธอเพิ่งจีลูกคนแรก เด็กมีอาการตัวร้อนขึ้นมา เธอได้แต่เอาผ้าหนาๆ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
3
กรกฎาคม 2522
คอลัมน์นี้ จะสอนให้รู้จักอาการและโรคต่างๆ รวมทั้งวิธีตรวจร่างกายด้วยตนเอง ซึ่งผู้อ่านนำไปปฏิบัติได้เลย หรือภายหลังจากที่ได้ฝึกจากผู้รู้สักครั้งสองครั้ง เราจะนำมาเสนอเป็นประจำทุกครั้งตอน : การตรวจดูอาการ “คอแข็ง”อาการคอแข็ง พบได้ในโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ เลือดออกในสมอง ฝีในสมอง บาดทะยัก ไข้หลังแอ่นตรวจเมื่อไรเมื่อมีอาการไข้ตัวร้อน ปวดหัวรุนแรง อาเจียนพุ่งอย่างแรง แขนขาอ่อนแรง ซึม ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
3
กรกฎาคม 2522
7. การให้นมแม่“ไม่ต้องรีบร้อน”การที่จะตัดสินใจว่านมแม่พอหรือไม่นั้นไม่ใช่ทำได้ง่ายนัก ถึงแม้เต้านมจะมีขนาดใหญ่ ก็ไม่แน่จะมีน้ำนมมาก สำหรับคุณแม่ใหม่ซึ่งเพิ่งมีลูกคนแรก สัปดาห์แรกน้ำนมมักไม่ค่อยพอ ดังนั้นน้ำหนักของเด็กจึงมักจะลดลงกว่าเมื่อแรกเกิดเล็กน้อยในช่วงสัปดาห์แรก ถ้าวัดปริมาณนมแม่โดยวัดน้ำหนักเด็กด้วยเครื่องวัดอย่างละเอียดก่อนและหลังให้นมแล้ว จะเห็นว่า ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
2
มิถุนายน 2522
การฟื้นฟูสมรรถภาพในเด็กที่เป็นโรคโปลิโอถึงแม้ในปัจจุบันจะมีการฉีดหือกินวัคซีนเพื่อป้องกันโรคโปลิโอ แต่มีเด็กจำนวนมากยังป่วยเป็นโรคนี้ ทั้งนี้เนื่องจกไม่เคยได้รับวัคซีนเลย หรือเคยรับแต่ไม่ครบตามจำนวนครั้งที่กำหนดไว้ อย่างไรก็ดี เด็กส่วนใหญ่ที่เป็นโรคนี้ไม่มีอาการเป็นอัมพาตเลย คงมีอยู่ส่วนน้อยเท่านั้นที่เป็นอัมพาตจากโรคนี้ ในจำนวนเด็กที่เป็นอัมพาตมีอยู่ร้อยละ 30 ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
2
มิถุนายน 2522
3. คุณแม่ในวันคลอดคุณไม่ต้องทำอะไรเลยในวันแรกหลังคลอด สิ่งที่สำคัญที่สุด คือ พักผ่อนให้มากที่สุด เมื่อผ่านการคลอดลูกโดยปลอดภัยแล้ว คุณคงจะนึกในใจว่า “ง่ายกว่าที่คิดไว้ตั้งเยอะ” การเลี้ยงลูกของคุณก็เช่นเดียวกัน ไม่ได้เป็นเรื่องยากเย็นอะไรเลย เด็กที่เกิดมาครบกำหนดเป็นปรกตินั้น จะเติบโตขึ้นตามธรรมชาติอยู่แล้วไม่ว่าคุณจะคลอดที่บ้านหรือที่โรงพยาบาลอย่ามัวเป็นห่วงลูกของคุณ ...
-
นิตยสารหมอชาวบ้าน
2
มิถุนายน 2522
ตอน จ้าวโรค 2ผมมีนิวาสสถานอยู่ในคอหนูหน่อย บริเวณร่องทอนซิล ผมอยู่กับพี่น้องท้องเดียวกับผมไม่มากมายนัก บริเวณลำคอหนูหน่อยคือแถวทอนซิล โคนลิ้น ผนังด้านข้าง ด้านหลังของลำคอ มีนักเลงโตประจำถิ่นมากมาย บางพวกก็เป็นญาติสนิทกับผม บางพวกก็เป็นสิ่งมีชีวิตเล็กๆ เหมือนกัน นักเลงโตประจำถิ่นแบ่งเป็น 2 พวกใหญ่ ๆ พวกหนึ่งรูปร่างกลมอยู่กันเป็นคู่ๆ หรือเป็นสายๆ เมื่อถูกย้อมสีกรัม (โปรดดูภาพพิเศษ) จะติดสีม่วง ...